เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

เข้าใจและสามารถออกแบบการเรียนรู้ของตนเอง ฝึกฝนทักษะชีวิตที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main






กิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : ปลูกงานสร้างชีวิต   ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4ปีการศึกษา 2559
หน่วย :ปลูกงานสร้างชีวิต

Main Idea : 
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำไปปรับใช้ในการออกแบบการเรียนรู้ของตนเองเพื่อฝึกฝนทักษะชีวิตให้สมดุล  พร้อมรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

เป้าหมาย(Understanding Goal):
ออกแบบการเรียนรู้ของตนเอง  ฝึกฝนทักษะชีวิตที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง



Big  Question :
นักเรียนจะออกแบบการเรียนของตนเองบนพื้นที่ที่กำกัดอย่างคุ้มค่า ทั้งเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นอย่างไร

ภูมิหลังของปัญหา :

                สังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  ผู้คนใช้ชีวิตเร่งรีบ  เน้นความสะดวกสบาย ทั้งวิถีชีวิต  การเลือกอุปโภคบริโภค รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น  จากการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ทำให้มีความมั่นคงในชีวิตลดลง  ความสามารถในการพึ่งพาตนเองและสมดุลของชีวิตเปลี่ยนแปลงไป  เด็กๆขาดการฝึกฝนทักษะชีวิตและการจัดการตนเอง  เพราะมีคนทำให้  มีทางเลือกที่สะดวกสบายและพึ่งพาสิ่งอื่นมากเกินไป
                การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  จึงเป็นการเรียนรู้ที่จะทำให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะชีวิตผ่านการลงมือปฏิบัติ ได้แก้ปัญหา ค้นหาคำตอบด้วยตนเองได้รู้จักพอประมาณ  มีเหตุผล  รู้ว่ากำลังทำสิ่งใด ทั้งสามารถเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในอนาคต

Web เชื่อมโยงสาระการเรียนรู้





สิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ "ปลูกงานสร้างชีวิต"

สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรีนรู้
-กะหล่ำปลีมีสองสี (เขียวกับม่วง)
-แสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชผัก
-รู้ว่าตะไคร้เป็นสมุนไพร
-รู้ว่าใบไม้สามารถนำมาทำปุ๋ยหมักได้
-รู้ว่าซากพืชซากสัตว์ทำเป็นปุ๋ยได้
-รู้ว่าไส้เดือนช่วยพรวนดินทำให้ดินร่วน
-รู้ว่าใบเตยนำไปทำชาได้
-รู้ว่าผักที่มีแมลงมากัดกินแสดงว่าไม่มีสารตกค้าง-หรือยาฆ่าแมลงเพราะถ้ากินก็จะตาย
-รู้ว่าต้นไม้มีแบบไม้เลื้อยและแบบยืนต้น
-รู้ว่าพืชผักบางชนิดทำเป็นสมุนไพรได้ เช่น ขิง ข่า
-พืชสังเคราะห์แสงและเก็บในรูปของแป้ง
-รู้ว่าถ้าไม่มีดินก็ใช้อย่างอื่นได้ที่ดูดซับน้ำเพราะดินก็แค่ใช้ดูดซับน้ำให้ต้นไม้ไม่ตาย ถ้าเราจะใช้ก็เอามาใช้ได้ เช่น กระดาษทิชชู่ สำลี กระดาษ ผ้า เพราะสิ่งพวกนี้ซับน้ำก็เลยใช้แทนดินได้
-รู้ว่าน้ำสำคัญกับต้นไม้เพราะว่าต้นไม้จะตายถ้าไม่มีน้ำ
-รู้ว่าถั่วงอกเพาะได้โดยไม่ต้องใช้ดิน ใช้น้ำแทนก็ได้ หรือจะปลูกในดินก็ได้ ถ้าปลูกในน้ำต้องไม่ให้น้ำระเหย
-รู้ว่าผักไม่ควรปลูกใกล้กันเพราะจะแย่งน้ำกัน
-รู้ว่าผักบางชนิด สามารถปลูกด้วยฟองน้ำได้ เช่น สลัด วอเตอร์เกรท
-รู้ว่าผักบางชนิดปลูกในน้ำได้ เช่น ผักบุ้ง ถั่วงอก
-รู้ว่าฟางใช้แทนดินสำหรับปลูกผักได้
-จอบนำไปขุดดินได้ ขุดร่องได้
-เสียมนำไปพรวนดินได้
-เราจะรู้ได้อย่างไรว่าพืชแต่ละชนิดต้องการน้ำเท่าไร
-พืชผักชนิดใดไม่ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์บ้าง
-จะปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินได้อย่างไร
-พืชปรุงอาหารเวลาใด/ทำอย่างไร
-พืชผักกับวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
-ส่วนที่ให้รสชาติของพืชมีอยู่ส่วนใดบ้าง
-จะรู้ได้อย่างไรว่าพืชผักต้องการออกซิเจน
-ดินกับการเจริญเติบโตของพืชผักเกี่ยวข้องกันอย่างไร
-เราจะปลูกผักในน้ำได้อย่างไร
-เราแบ่งผักออกเป็นกี่ประเภท
-เราจะทำปุ๋ยหมักชีวภาพที่ให้สารอาหารกับพืชได้อย่างไร
-คาร์บอนไดออกไซด์กับพืชเกี่ยวข้องกันอย่างไร
-ถ้าไม่มีแสง พืชจะเป็นอย่างไร
-ดินต่างชนิดกันปลูกพืชเหมือนกันจะเป็นอย่างไร
-ถ้าเอาน้ำสีไปรดผักจะเป็นอย่างไร
-ทำไมพืชคายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตอนกลางคืน
-ทำไมผักบางชนิดต้องเพาะกล้าก่อนลงปลูกในแปลง
ในดินมีแร่ธาตุอะไรบ้าง
-ปลาหายใจในน้ำได้อย่างไร
-ทำไมปลาบางชนิดมีเกล็ดบางชนิดไม่มี
-ทำไมไก่มีหงอน/มีเหนียง
-ทำไมเสียงไก่ขันแตกต่างกัน
-ทำไมสัตว์บางชนิดมีขนปกคลุมร่างกาย(สัตว์ปีก)
-ถ้าปลูกผักอินทรีย์จะมีวิธีการกำจัดศัตรูพืชอย่างไร


ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ Problem Based Learning (PBL)
หน่วยการเรียนรู้ “ ปลูกงานสร้างชีวิตQuarter4/2559 ภาคเรียนที่ 2  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
week
Input
Process
Output
Outcome









1
โจทย์
- สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ  
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้

คำถาม
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรในQuarter นี้ เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้

เครื่องมือคิด
Card & Chart
Show & Share
Round Robin

สื่อ/อุปกรณ์
-บรรยากาศในห้องเรียน
-แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน(พื้นที่ฟาร์ม)
- ครูนักเรียนร่วมสำรวจพื้นที่ส่วนฟาร์มของโรงเรียน (บ่อน้ำ เลี้ยงสัตว์ ปลูกพืช การจัดการน้ำ เศษใบไม้ เศษอาหาร )

คำถามระหว่างเดินสำรวจ
     - เห็นอะไร สิ่งที่เห็นเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร จะเป็นอย่างไรหากไม่มีการจัดการสิ่งเหล่านี้  รู้สึกอย่างไร
     - นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้สำรวจและเห็น
    
- นักเรียนดูคลิปการทำเกษตรในเมือง การจัดการพื้นที่และทรัพยากร
 แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ (เห็นอะไร รู้สึกอย่างไร  สิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร)
-ถ้าให้ปลูกผักหนึ่งชนิด นักเรียนจะทำอย่างไร (เพราะเหตุใดจึงทำเช่นนั้น)
- ครูให้โจทย์  “นักเรียนจะมีวิธีการจัดพื้นที่ที่มี บ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ ไก่ไข่ แปลงผักให้อยู่ด้วยกันในพื้นที่จำกัดอย่างไร (ลงสำรวจพื้นที่จริง)  แบ่งกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ภาระงาน
- สำรวจพื้นที่รอบๆโรงเรียน
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- หน่วยการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนสามารถบอกความต้องการและความจำเป็นของตนเองต่อสิ่งที่อยากเรียนรู้ รวมทั้งมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการทำงานอย่างเป็นระบบ

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ










week
Input
Process
Output
Outcome










2
โจทย์ 
วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ในเรื่องนี้อย่างไร
เครื่องมือคิด 
- Brainstorms
- Think Pair Share
- Blackboard Share
- Mind Mapping
- Show and Share
- Wall Thinking
สื่อ/อุปกรณ์ 
บรรยากาศภายในห้องเรียน
- คลิปวีดีโอปลูกผักบนดาดฟ้า  ปลูกผักไร้ดิน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการปลูกผักในเมือง ปลูกผักในกระถาง เลี้ยงสัตว์บนดาดฟ้า

- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดูในคลิป เห็นปรากฏการณ์อะไร สิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร  รู้สึกอย่างไร
-นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว  สิ่งที่อยากเรียนรู้
-แบ่งกลุ่มออกแบบกิจกรรม วางแผนการเรียนรู้  และนำเสนอกิจกรรมการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ทำปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์ในรูปแบบที่สนใจ เช่น Timeline ปฏิทินรายสัปดาห์  วงกลมนาฬิกา  ก้นหอย ฯลฯ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- เขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบกิจกรรม และวางแผนการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
- เข้าใจสามารถพูดอธิบาย ตั้งคำถาม แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจตลอดจนสามารถเลือก และออกแบบกิจกรรมจากสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้
- เข้าใจและสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกันได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเป้าหมาย และสร้างสรรค์

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
 -  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน

คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ






week
Input
Process
Output
Outcome













3 - 4
โจทย์
พื้นที่ 100 ตารางวา

คำถาม
นักเรียนจะออกแบบพื้นที่ 100 ตารางวาให้เป็นพื้นที่ที่สามารถเลี้ยงสัตว์น้ำ เลี้ยงไก่ไข่  และปลูกผักในพื้นที่เดียวกันอย่างไร

เครื่องมือคิด
Round Robin
Show & Share
Placemat
ชักเย่อความคิด
Blackboard Share

สื่อ/อุปกรณ์
- พื้นที่ทำกิจกรรม 100 ตารางวา
- คลิปวีดีโอเกษตรเชิงเดี่ยว
- อินเทอร์เน็ต
- นักเรียนดูคลิปการทำเกษตรเชิงเดี่ยว
- นักเรียนทำชักเย่อความคิด “เป็นผู้เลือกดีกว่าผู้ผลิต”
- ครูและนักเรียนสำรวจและออกวัดพื้นที่ที่ใช้ทำกิจกรรม 
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะออกแบบพื้นที่ 100 ตารางวาให้เป็นพื้นที่ที่สามารถเลี้ยงสัตว์น้ำ เลี้ยงไก่ไข่  และปลูกผักในพื้นที่เดียวกันอย่างไร”
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม  ศึกษาค้นคว้า ออกแบบและวางแผนการใช้พื้นที่ 100 ตารางวาในการทำกิกรรม (โจทย์ที่กำหนด)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแบบและแผนการทำกิจกรรม
- สร้างพื้นที่ 100 ตารางวาให้เป็นพื้นที่ที่สามารถเลี้ยงสัตว์น้ำ เลี้ยงไก่ไข่  และปลูกผักในพื้นที่เดียวกัน (ผู้ปกครองร่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้)
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- สำรวจพื้นที่ ศึกษาค้นคว้าและออกแบบการใช้ในการทำกิจกรรม
- นำเสนอแลกเปลี่ยนผลงาน เพิ่มเติม ปรับใช้ให้เหมาะสม
- สร้างงาน

ชิ้นงาน
-บ่อปลา  เล้าไก่ไข่  แปลงผัก/แปลงผักไร้ดิน /ผักในกระถาง
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจธรรมชาติของปลาเลี้ยง ไก่ไข่ และผักตามฤดูกาล สามารถออกแบบให้สามารถอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ผ่านการจัดการทรัพยากรที่จำกัดอย่างเหมาะสม

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ



week
Input
Process
Output
Outcome















5
โจทย์
ใช้น้ำน้อย

คำถาม
นักเรียนจะมีวิธีการจัดการน้ำในการทำกิจกรรมบ่อปลา เลี้ยงไก่ไข่  และปลูกผักอย่างไร

เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Wall Thinking

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- พื้นที่ในโรงเรียน /พื้นที่ในการทำกิจกรรม

- สำรวจแหล่งน้ำ และการใช้น้ำในโรงเรียน  แลกเปลี่ยนสิ่งที่สังเกตเพื่อนำไปปรับใช้ในการออกแบบและสร้างนวัตกรรมของตนเอง
- นักเรียนจบฉลากแบ่งกลุ่ม ศึกษาค้นคว้าการสร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำในการเลี้ยงปลา  เลี้ยงสัตว์  และปลูกผัก
- ออกแบบและสร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำ

- นำเสนอ  แลกเปลี่ยนนวัตกรรมประหยัดน้ำ เพื่อปรับและพัฒนาการใช้ให้เหมาะสม
- ทดลองใช้ สังเกตผลการใช้  พัฒนาและปรับการใช้งานให้เหมาะสม

-ทำไมน้ำมีกลิ่น จะจัดการอย่างไร จะมีการจัดการบ่อปลาอย่างไร ทำ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- สำรวจแหล่งน้ำ
- ศึกษาค้นคว้าการสร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำ
- ออกแบบและสร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำ
- ทดลองใช้ สังเกตผลการใช้  พัฒนาและปรับการใช้งานนวัตกรรมประหยัดน้ำ

***
-ดูแลปลา ไก่jไข่และแปลงผัก

ชิ้นงาน
- นวัตกรรมประหยัดน้ำ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการ และปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการปลูกพืช(ปลูกผัก) สามารถออกแบบและสร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำและเหมาะสมกับการใช้งาน

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ



week
Input
Process
Output
Outcome











6 - 7
โจทย์
สารอาหาร

ปุ๋ยชีวภาพ จากเศษอาหาร ใบไม้
- น้ำหมักชีวภาพ
- ปุ๋ยหมักชีวภาพ
- ดินปลูก(สำเร็จรูป)

คำถาม
นักเรียนจะสามารถผลิตปุ๋ยหรือสารอาหารของพืชโดยใช้ส่วนผสมของใบไม้และเศษอาหารอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Wall Thinking
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- พื้นที่ในโรงเรียน /พื้นที่ในการทำกิจกรรม
- เศษใบไม้แห้ง เศษอาหารในโรงเรียน

- นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าการทำดินสำเร็จรูป ปุ๋ยหมักชีวภาพ ทั้งสูตรน้ำหมัก และปุ๋ยแห้ง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า (แต่ละกลุ่มเลือกวิธีการที่สนใจ)
- นักเรียนแต่ละกลุ่มทำปุ๋ยหมักชีวภาพ  ดินปลูกสำเร็จรูปสังเกตการเปลี่ยนแปลงและระยะเวลา
- ผสมดินปลูกสำเร็จรูป นำไปใช้ในการเตรียมดินปลูกพืชผัก (ปลูกผักกระถาง)
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
ศึกษาค้นคว้าการทำดินสำเร็จรูป ปุ๋ยหมัก  น้ำหมักชีวภาพ
-ทำดินสำเร็จรูป  ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ
-ปลูกผักกระถาง เพื่อสังเกตคุณภาพของดินสำเร็จรูป

***
-ดูแลปลา ไก่ไข่และแปลงผัก


ชิ้นงาน
- ดินสำเร็จรูป
- ปุ๋ยชีวภาพ
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโต  สารอาหาร และแร่ธาตุในดินที่พืชต้องการแล้วสามารถผลิตปุ๋ย หรือดินสำเร็จรูปจากวัตถุดิบที่มีในพื้นถิ่นได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
 - ทักษะICT
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ

week
Input
Process
Output
Outcome














8

โจทย์
- ประกอบอาหาร / การเลือก
- การถนอมอาหาร

คำถาม
จากผลผลิตที่นักเรียนผลิตได้ นักเรียนจะสามารถนำไปประกอบอาหารที่มีคุณค่า  น่ารับประทาน และปลอดภัยอย่างไร

เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Wall Thinking

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- พื้นที่ในโรงเรียน /พื้นที่ในการทำกิจกรรม
- เศษใบไม้แห้ง เศษอาหารในโรงเรียน

-ไปเรียนรู้ผู้ตลาดสด
-กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- นักเรียนชิมอาหารที่ครูประกอบจากวัตถุดิบที่นักเรียนผลิต  แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับอาหารที่รับประทาน (นักเรียนคิดอย่างไรเกี่ยวกับการจัดการเรื่องอาหาร เป็นผู้เลือก กับ สามารถผลิตเองได้)
- นักเรียนทำกิจกรรม แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการจัดการเกี่ยวกับอาหาร (Hot Worm Cool Cold)
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนและวางแผนประกอบอาหารจากวัตถุดิบหลักที่ผลิตเองได้
-ประกอบอาหารจากวัตถุดิบที่ผลิตเอง
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-ชิมอาหาร แลกเปลี่ยนรสชาติ  ความรู้สึก
-แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการจัดการอาหาร (Hot Worm Cool Cold)
-ประกอบและรับประทานอาหารที่ได้จากวัตถุดิบที่ผลิตเอง

***
-ดูแลปลา ไก่ไข่และแปลงผัก


ชิ้นงาน
- อาหารปลอดภัย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถเลือกวัตถุดิบเพื่อประกอบอาหารที่มีคุณค่า ปลอดภัย และน่ารับประทานได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะICT
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ




week
Input
Process
Output
Outcome












9
โจทย์
พัฒนา ต่อยอดนวัตกรรม

คำถาม
นักเรียนจะสามารถพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมเพื่อปรับใช้ในชีวิตอย่างไร

เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Wall Thinking

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- พื้นที่ในโรงเรียน /พื้นที่ในการทำกิจกรรม
- เศษใบไม้แห้ง เศษอาหารในโรงเรียน

- ครู นักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนวัตกรรม  และผลผลิตที่ได้จากการทำกิจกรรม ผ่านคำถามกระตุ้นคิด
     -นักเรียนได้เรียนรู้อะไร สิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวข้องกับนักเรียนหรือสิ่งใดบ้าง
     - นักเรียนจะพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม  หรือผลผลิตที่ได้อย่างไร
- นักเรียนแบ่งกลุ่มระดมความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม  และผลผลิตที่ได้  เช่น ปุ๋ยหมักชีวภาพ  ดินสำเร็จรูปบรรจุถุง  เป็นต้น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ระดมความคิด  แลกเปลี่ยนเพื่อพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม
- พัฒนานวัตกรรมและขยายผลผลิต

***
-ดูแลปลา ไก่ไข่และแปลงผัก


ชิ้นงาน
- ผลิตภัณฑ์ (ปุ๋ย  ดินสำเร็จรูป  ผักกระถาง  ผักไร้ดิน)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
นักเรียนเข้าใจอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์  อาหารที่ปลอดภัยมาจากการจัดการและกระบวนการในการผลิตที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ  สามารถพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมเพื่อนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะICT
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ


week
Input
Process
Output
Outcome















10
โจทย์
ถอดบทเรียน

คำถาม
 - นักเรียนคาดหวังว่าจะได้เรียนรู้อะไร?
- อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้
- มีกระบวนการทำอย่างไร และทำไมต้องทำแบบนี้
- เราจะนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างไร

เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Wall Thinking

สื่อ/แหล่งเรียนรู้


- ครูนักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนสิ่งที่อยากเรียนรู้ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนใคร่ครวญและถอดบทเรียนของตนเองตลอด Quarter ที่ผ่านมา รวมทั้งเขียนสรุปสิ่งที่ดีแล้ว  สิ่งที่ต้องพัฒนา
-ออกแบบและเตรียมจัดนิทรรศการสรุปและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับชั้นเรียนอื่นๆ
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-แลกเปลี่ยนสิ่งที่อยากเรียนรู้
-ถอดบทเรียน และสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา
-ซ้อมนำเสนอ เตรียมนิทรรศการ

ชิ้นงาน
นิทรรศการสรุปองค์ความรู้
-ชิ้นงานถอดบทเรียน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถถอดบทเรียน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสม

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการสื่อสาร
-  รู้ตัว / พอประมาณ   เหตุผล  ภูมิคุ้มกัน
คุณลักษณะ
เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
เชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้พบเห็นสู่การเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่หลากหลาย
- สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
รับผิดชอบต่อตนเองและสิ่งอื่นๆ



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “ปลูกงานสร้างชีวิต
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2/2559

สาระ
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคม
ประวัติศาสตร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
ศิลปะ
หน้าที่พลเมือง
สร้างฉันทะ/วางแผนการเรียนรู้
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mappingก่อนเรียน
มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตใกล้ตัว
(ว1.2 .3/1)
มาตรฐาน   2.1
สำรวจสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนของตนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว
(ว2.1 .3/1)
มาตรฐาน 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ (8.1 .3/1)
-จัดกลุ่มข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ในกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
 (8.1 .3/4)
มาตรฐาน ส 2.1
-บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
(ส2.1 .3/2)
มาตรฐาน ส 2.2
ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียนและในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย
(ส2.2 .3/1
มาตรฐาน ส 4.1
บอกวันเดือนปีและสามารถนับช่วงเวลาตามปฏิทินเพื่อใช้ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้(ส4.1 .3/1)
ลำดับเหตุการณ์ของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งที่มาได้
(ส4.1 .3/2)

มาตรฐาน ง 1.1
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองครอบครัวและส่วนรวม
(ง1.1 .3/1)
มาตรฐาน ง 2.1
-เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์และเหมาะสมกับงาน
(ง2.1 .3/1)

มาตรฐาน   1.1
-เข้าใจและสามารถอธิบายการสร้างสัมพันธภาพระหว่างตนเอง ครอบครัวและผู้อื่นอย่างเหมาะสม
(พ1.1 .3/2)
มาตรฐาน   5.1
-เข้าใจและสามารถดูแลปฐมพยาบาลตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการทำกิจกรรมได้เหมาะสม
(พ 5.1. 3/3)


มาตรฐาน  1.1
-ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างผลงานได้
(ศ1.1.3/3)
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
(ศ1.1.3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
(ศ1.1.3/6)
จุดเน้นที่ 1
-ปฏิบัติตนเป็นผู้มี
มารยาทที่ดีระว่างการเรียนรู้การทำกิจกรรมต่างๆ
(จุดเน้นที่ 1.1 )
-แสดงออกถึงความบุคคลในชุมชน
(จุดเน้นที่ 1.1 )
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการดำเนินชีวิต
(จุดเน้นที่ 1.2)
จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )
การจัดการพื้นที่จำกัด (การจัดการทรัพยากร)
- เครื่องมือเกษตร
- ชนิดของผัก
- ชนิดของดิน
- น้ำ(แหล่งน้ำ)
- ฤดูกาล

มาตรฐาน ว .1.2
-เข้าใจและสามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนลักษณะของสิ่งมีชีวิตเช่นผัก ปลา รวมทั้งสิ่งมีชีวิตใกล้ตัวได้
(1.2 . 3/1)                     
มาตรฐาน ว 2.1
-สำรวจสิ่งแวดล้อม พื้นที่ที่จำกัดในบริเวณโรงเรียนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
(2.1 .3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
-สำรวจทรัพยากรธรรมชาติแลกเปลี่ยนการใช้และการจัดการทรัพยากร(2.2 .3/1)
-ระบุการใช้และการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(2.2 .3/2)
-อภิปรายแลกเปลี่ยนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัด คุ้มค่าและนำไปใช้ในการปลูกผักของตนเอง(2.2 3/3)
มาตรฐาน ว 6.1
-สำรวจและอภิปรายสมบัติทางกายภาพของน้ำจากแหล่งน้ำในโรงเรียนเพื่อนำไปใช้ในการปลูกผักและเลี้ยงปลา (6.1 3/1)
-สืบค้นและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับอากาศและความสำคัญของอากาศที่มีผลต่อการปลูกพืชและการเลี้ยงปลา(6.1 3/2)
-สำรวจและอภิปรายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเกิดดิน(6.1 4/1)
-ระบุชนิดและสมบัติของดินที่นำไปใช้ในการปลูกพืชผักแต่ละชนิดอย่างเหมาะสม (6.1 4 /2)

  มาตรฐาน ว 8.1
เลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจ ตรวจสอบพื้นที่การปลูกผัก แหล่งน้ำ และดินในโรงเรียน
(8.1 .3 /3)    
มาตรฐาน  1.1
ชื่นชมบอกแบบอย่างที่ดี และสามารถเรียนรู้  ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเคารพ ( ส 1.1 . 3/1)
-ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ นำไปใช้ในการดำรงชีวิตและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างศานติ( ส 1.1 . 4/7)
มาตรฐาน ส 2.1
 -เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ชุมชน
(2.1 .4/1)
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการเรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
(2.1 . 4/2)
 -เข้าใจและสามารถเสนอแนะวิธีการที่จะเรียนรู้และอยู่ร่วมกันอย่างเคารพในชีวิตประจำวัน
(2.1 4/5)
มาตรฐาน  5.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ในการประกอบอาชีพ
(5.2 . 3/2)
-เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษในการทำการเกษตร(5.2 . 3/3)
-ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เกิดจากการทำการเกษตร
(5.2 . 3/5)
มาตรฐาน ส 4.1  
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูก โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
(4.1 3/2)
มาตรฐาน ส 4.2 
-ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาทางการเกษตรในชุมชน(4.2 3/1)
-สรุปลักษณะที่สำคัญของ  ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนที่มีอิทธิพลต่อการวิถีการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
(4.2 3/2)


มาตรฐาน ง 2.1
 -เลือกใช้สิ่งของในชีวิตประจำวันและการทำงานอย่างสร้างสรรค์
(2.1 3/2)
-มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ในการเรียนรู้และทำกิจกรรมมาใช้ซ้ำ
(2.1 3/2)
มาตรฐาน ง 3.1
ค้นหาข้อมูล อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ 
(3.1 3/1)




มาตรฐาน   1.1
-เข้าใจและสามารถอธิบายการสร้างสัมพันธภาพระหว่างตนเอง ครอบครัวและผู้อื่นอย่างเหมาะสม
(พ1.1 3/2)
มาตรฐาน  5.1
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนระหว่างการเรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆให้ปลอดภัยทั้งในและนอกโรงเรียน
(พ 5.21. 3/1)
-เข้าใจและสามารถดูแลปฐมพยาบาลตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการทำกิจกรรมได้เหมาะสม
(พ 5.1. 3/3)

มาตรฐาน ศ 1.1
-บรรยาย  รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์รูปร่างแปลงผัก
(ศ 1.1 3/1)
-ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป์
(ศ 1.1 3/2)

จุดเน้นที่ 1
-มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม
(จุดเน้นที่ 1.1)
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น (จุดเน้นที่ 1.2)
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1)
-ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.2 )
จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )

การดูแลพืชผักที่ปลูก และการเลี้ยงปลานิล

-ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช
-ปัจจัยการเจริญเติบโตของปลานิล
-โรคและแมลงศัตรูพืช





มาตรฐาน ว 2.1
-สำรวจสิ่งแวดล้อม พื้นที่ที่จำกัดในบริเวณโรงเรียนและอธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 
(2.1 .3/1)
มาตรฐาน 7.1
สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์  กำหนดการทดลองการได้รับแสงและไม่ได้รับแสงของพืช ตำแหน่งพืชตามทิศที่ได้รับแสง
(7.1 .3/1)
มาตรฐาน 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช คน และสัตว์ (8.1 .3/1)
-จัดกลุ่มข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต คน พืช สัตว์แล้วนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น (8.1 .3/4)
-แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับปัจจัยการเจริญเติบโต คน พืช สัตว์แล้วนำไปใช้ในการปลูกผักและเลี้ยงปลาของตนเอง
(8.1 .3/6)
-บันทึกและอธิบายผลการเจริญเติบโตของผักตามความเป็นจริงโดยการวาดภาพประกอบการอธิบาย
(8.1 .3/7)



มาตรฐาน ส 2.1
 -เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ชุมชน(2.1 4/1)
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการเรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น (2.1 . 4/2)
 -เข้าใจและสามารถเสนอแนะวิธีการที่จะเรียนรู้และอยู่ร่วมกันอย่างเคารพในชีวิตประจำวัน
(2.1 . 4/5)

มาตรฐาน ส 2.2
-ระบุบทบาทและหน้าที่
ของสมาชิก ชุมชน
ในการมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ  ตามกระบวนการประชาธิปไตย(2.2 . 3/1)
-ยกตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลง
ในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน  ที่เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม(2.2 3/3)

มาตรฐาน ส 4.1  
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกผัก เลี้ยงปลา หรือพื้นที่การเกษตร โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
(4.1 . 3/2)
มาตรฐาน ส 4.2 
-ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาทางการเกษตรในชุมชน(4.2 . 3/2)
-สรุปลักษณะที่สำคัญของ  ขนมธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนที่มีอิทธิพลต่อการวิถีการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
(4.2 3/2)
-เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างด้านการปลูกผักและเลี้ยงปลาของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนอื่นๆ
(4.2 3/3)
มาตรฐาน ง 2.1
 -เลือกใช้สิ่งของในชีวิตประจำวันและการทำงานอย่างสร้างสรรค์
(2.1 3/2)
-มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ในการเรียนรู้และทำกิจกรรมมาใช้ซ้ำ
(2.1 3/2)





มาตรฐาน ง 3.1
ค้นหาข้อมูล อย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆที่หลากหลาย 
(3.1 .3/1)

มาตรฐาน   1.1
-เข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะและการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ โดยเทียบเทียบเคียงกับพืชและสัตว์สามารถนำไปปรับใช้ในการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม
(พ1.1 3/1)
-เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเอง พืช และสัตว์กับเกณฑ์มาตรฐานเพื่อนำไปปรับใช้กับการใช้ชีวิตของตนเองอย่างเหมาะสม(พ1.2 .3/2)
-เข้าใจและสามารถระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของคน พืช สัตว์ได้(พ1.2 .3/3)
มาตรฐาน   1.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการสร้างสัมพันธภาพระหว่างตนเอง ครอบครัวและผู้อื่นแล้วนำมาปรับใช้กับตนเองอย่างเหมาะสม (พ1.2 3/2)
มาตรฐาน พ 4.1 
 เข้าใจและสามารถอธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่  กระจายของโรคที่เกิดกับพืช  คน และสัตว์
(4.1  3/1)
มาตรฐาน  5.1
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนระหว่างการเรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆให้ปลอดภัยทั้งในและนอกโรงเรียน
(พ 5.1. 3/1)
-เข้าใจและสามารถดูแลปฐมพยาบาลตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการทำกิจกรรมได้เหมาะสม
(พ 5.1. 3/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
-วาดภาพระบายสีสิ่งของเครื่องใช้และขั้นตอนการทำแปลงผัก
(1.1 3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริงระหว่างการทำแปลงผัก โดยใช้เส้น รูปร่างรูปทรง
สีและพื้นผิว
(1.1 3/6)
-บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยเน้นถึงเทคนิคและวัสดุอุปกรณ์
(1.1 3/7)



จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )
จุดเน้นที่ 3
-การดำเนินชีวิตตามวิถีปฏิบัติที่กลุ่มได้กำหนดขึ้นและได้รับการยอมรับ
(จุดเน้นที่ 3.1 )
-มีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่ 3.2 )
จุดเน้นที่ 4
-ยอมรับและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ(จุดเน้นที่ 4.1 )
จุดเน้นที่ 5
ซื่อสัตย์สุจริต  ขยันหมั่นเพียร
 อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
(จุดเน้นที่ 5 )

การบริหารจัดการน้ำที่มีปริมาณจำกัด
-การใช้น้ำคุ้มค่า
-การแก้ปัญหา ฟื้นฟูคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลา
-ทำ EM ball เพื่อแก้ปัญหาน้ำ
มาตรฐาน ว 2.2
-ระบุการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
ที่ก่อให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสียในบ่อเลี้ยงปลา (ว 2.2 3/2)
-อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากรน้ำ  อย่างประหยัด คุ้มค่า และสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันและการเรียนรู้ได้ (ว 2.2 3/3)

มาตรฐาน ว 3.2
อภิปรายประโยชน์และอันตรายและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของน้ำต่อปลาที่เลี้ยง(ว 3.23/2)
มาตรฐาน ว 6.1
-สำรวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของน้ำจากแหล่งน้ำในท้องถิ่น และนำความรู้  ไปใช้ประโยชน์
( 6.1 3/1)

มาตรฐาน ส 2.1
 -เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน ชุมชน(2.1 4/1)
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการเรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น (2.1 . 4/2)
มาตรฐาน  5.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ในการประกอบอาชีพ (5.2 . 3/2)
-เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษในการทำการเกษตร(5.2 . 3/3)
-ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เกิดจากการทำการเกษตร
(5.2 . 3/5)
มาตรฐาน ส 4.1
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของ
ปริมาณน้ำและคุณภาพน้ำ
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
ที่เกี่ยวข้อง
(4.1 3/2)
มาตรฐาน ส 4.3
เข้าใจและสามารถอธิบายพระราชประวัติและพระราช –กรณียกิจเกี่ยวกับการแก้ปัญหาเรื่องน้ำ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขอพระมหากษัตริย์     ในหลวงรัชกาลที่ 9 แล้วนำไปปรับใช้กับการดำรงชีวิตและการเรียนรู้ของตนเอง
(ส 4.3 3/2)

มาตรฐาน ง 2.1
สร้างนวัตกรรมประหยัดน้ำอย่างง่ายโดยกำหนด ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวมข้อมูล  ออกแบบ              โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(2.1 3/1)
มาตรฐาน   1.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการสร้างสัมพันธภาพระหว่างตนเอง ครอบครัวและผู้อื่นแล้วนำมาปรับใช้กับตนเองอย่างเหมาะสม
(พ1.2 3/2)
มาตรฐาน  5.1
-เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนระหว่างการเรียนรู้และทำกิจกรรมต่างๆให้ปลอดภัยทั้งในและนอกโรงเรียน
(พ 5.21. 3/1)
-เข้าใจและสามารถดูแลปฐมพยาบาลตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับบาดเจ็บจากการทำกิจกรรมได้เหมาะสม
(พ 5.1. 3/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
(ศ1.1.3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
(ศ1.1.3/6)
จุดเน้นที่ 1
-มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม(จุดเน้นที่ 1.1)
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น (จุดเน้นที่ 1.2)
จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1)
-ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.2 )
สารอาหาร ธาตุอาหาร ปุ๋ย ดินสำเร็จรูป
-การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ แบบแห้ง/แบบน้ำ
-การปรุงดินให้มีธาตุอาหารที่เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืชแต่ละชนิด
-การปลูกผักโดยไม่ใช้ดิน
มาตรฐาน ว 3.1
-เข้าใจและสามารถจำแนกชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ลักษณะของดิน(ว3.1 3/1)
 - เข้าใจและสามารถอธิบายการใช้ประโยชน์ของวัสดุที่ใช้ทำปุ๋ยหมักที่ส่งผลต่อพืช วัสดุที่ใช้ปลูกถั่วงอก
(ว3.1 3/2)
มาตรฐาน ว 4.1
- ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก น้ำที่รดผักตกกระทบพื้นและอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ พืชผักไม่ลอยออกจากดิน และตกลงตามแรงโน้มถ่วง (4.1 3/2)
มาตรฐาน  5.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ในการประกอบอาชีพ
 (5.2 . 3/2)
-เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับมลพิษและการก่อให้เกิดมลพิษในการทำการเกษตร(5.2 . 3/3)
-ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เกิดจากการทำการเกษตร(5.2 . 3/5)
มาตรฐาน ส 4.1
แสดงลำดับเหตุการณ์สำคัญของการทำปุ๋ยหมักและการปรุงดินเพื่อเพิ่มธาตุอาหาร   
โดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องในชุมชนเพื่อนำไปปรับใช้อย่างเหมาะสม(4.1 3/2)

มาตรฐาน ง 2.1
เลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ในชีวิต ประจำวันอย่างสร้างสรรค์(2.1 3/2)
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(2.1 3/3)
มาตรฐาน   1.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายการสร้างสัมพันธภาพระหว่างตนเอง ครอบครัวและผู้อื่นแล้วนำมาปรับใช้กับตนเองอย่างเหมาะสม (พ1.2 3/2)
มาตรฐาน พ 4.1 
 เข้าใจและสามารถอธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่  กระจายของโรคที่เกิดกับพืช  คน และสัตว์
(4.1  3/1)

มาตรฐาน ศ 1.1
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
(ศ1.1.3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
(ศ1.1.3/6)
จุดเน้นที่ 1
-มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม(จุดเน้นที่ 1.1)
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น (จุดเน้นที่ 1.2)

จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1)
-ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.2 )
จุดเน้นที่ 4
การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย อาศัยความหลากหลายในการสร้างประโยชน์เพื่อส่วนรวม
(จุดเน้นที่ 4.1)
การประกอบอาหาร ถนอมอาหาร เลือกซื้อเลือกบริโภค
-การเลือกซื้อวัตถุดิบในการทำอาหาร
-การประกอบอาหารจากพืชผักที่ปลูกเอง
-การถนอมอาหารที่ปลอดภัย
มาตรฐาน ว 3.2
  -ทดลองและอธิบายผล
ของการเปลี่ยนแปลง
ผักที่นำมาทำอาหาร เมื่อถูกแรงกระทำ หรือทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลง (ว 3.23/1)
-อภิปรายประโยชน์และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอาหารเมื่อหมดอายุหรือเสื่อมสภาพ
(ว 3.23/2)

มาตรฐาน ส 3.1
-จำแนกความต้องการและความจำเป็น
ในการใช้สินค้าและบริการ
ในการดำรงชีวิต
(3.1 3/1)
-วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง (3.1 3/2)
-อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ(3.1 3/3)

มาตรฐาน ส 4.2
-สรุปลักษณะที่สำคัญของ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชนในตลาด(4.2 3/2)
 -เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับ   ชุมชนในตลาด
(4.2 3/3)

มาตรฐานง 1.1
-ใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
(ง 1.1  3/2)
-ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
ตามกระบวนการทำงานด้วย
ความสะอาดความรอบคอบ และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(ง 1.13/3)
มาตรฐาน พ 4.1 
เลือกรับประทานอาหารที่หลากหลายครบ 5หมู่ในสัดส่วนที่เหมาะสมกับตนเอง
(4.1  3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
-แสดงวิธี ขอความช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่งต่าง ๆ  เมื่อเกิดเหตุร้าย  หรืออุบัติเหตุระหว่างการเรียนรู้หรือทำกิจกรรมต่างๆ (5.13/2)
-แสดงวิธีปฐมพยาบาล  เมื่อบาดเจ็บจากการทำกิจกรรมการเรียนรู้
(5.13/3)

มาตรฐาน ศ 1.1
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
(ศ1.1.3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
(ศ1.1.3/6)
จุดเน้นที่ 1
-มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันในการทำกิจกรรม(จุดเน้นที่ 1.1)
-เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น (จุดเน้นที่ 1.2)
จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )
จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1)
-ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.2 )
จุดเน้นที่ 5
ซื่อสัตย์สุจริต  ขยันหมั่นเพียร
 อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
(จุดเน้นที่ 5 )
ถอดบทเรียน
- เผยแพร่ความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
- Mind Mapping
-ถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้/นิทรรศการ
-ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-ประเมินตนเองสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่อยากพัฒนาเพิ่มเติม






มาตรฐาน ว 2.1
-สามารถอธิบายสำรวจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเองพร้อมทั้งอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมในอนาคตได้
(ว2.1 3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- วางแผนการสังเกตเสนอวิธีตรวจสอบศึกษาวิธีค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเอง
(ว8.1 3/2)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบบันทึกข้อมูล
(ว8.1 3/3)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการสังเกตโดยเขียนภาพหรือข้อความสั้นๆในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ว8.1 3/6/7)
-นำเสนอ จัดแสดง ผลงาน      โดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนแสดงกระบวนการและผล  ของงาน ให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 3/8)
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส2.1 3/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นในการทำงานร่วมกัน
(ส2.1 3/4)
มาตรฐาน ส2.2
- เข้าใจและสามารถระบุบทบาทและหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส2.2 3/2)
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นการตัดสินใจในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(ส2.2 3/3)


มาตรฐาน ส 4.2     
-สรุปลักษณะที่สำคัญของ       ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน
(ส 4.2 3/2)


มาตรฐาน   1.1
- สามารถบอกวิธีทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเองในการสรุปองค์ความรู้ได้
(ง1.1 3/1)
- สามารถทำงานของตนเองอย่างกระตือรือร้นและตรงต่อเวลาได้
(ง1.1 3/3)
มาตรฐาน   2.1
มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการนำกลับมาใช้ซ้ำ
(ง2.1 3/3)
มาตรฐาน   3.1
ค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆ
(ง3.1 3/1)

มาตรฐาน พ 2.1
สามารถระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองในการเป็นสมาชิกกลุ่มได้
(พ2.1 3/1)
มาตรฐาน พ 3.1
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงในการทำงานกลุ่มได้
(พ2.1 3/2)

มาตรฐาน ศ 1.1
-วาดภาพระบายสีชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
(ศ1.1.3/4)
-วาดภาพถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
(ศ1.1.3/6)
จุดเน้นที่ 2
-ปฏิบัติตนตาม
พระบรมราโชวาท หลัก
การทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(จุดเน้นที่ 2.1 )

จุดเน้นที่ 3
-ปฏิบัติตามกฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในห้องเรียนและในโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.1)
-ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของ ห้องเรียน และโรงเรียน
(จุดเน้นที่3.2 )
จุดเน้นที่ 4
-แสดงความคิดเห็นโดยไม่ขัดแย้ง(จุดเน้นที่ 4)
จุดเน้นที่ 5
ซื่อสัตย์สุจริตขยันหมั่นเพียร
 อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
(จุดเน้นที่ 5 )